วันเสาร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

สัปดาห์ที่11

วิชาการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  ตฤณ  แจ่มถิ่น
กลุ่มเรียน  103
เวลาเข้าเรียน 08.30 เลิกเรียน 12.20


กิจกรรมวันนี้
อาจารย์ให้เขียนแผนการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
โดยแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 4 - 5 คน และ แบบเดี่ยว
วัตถุประสงค์
- ช่วยให้สามารถจัดกิจกรรมให้กับเด็กได้อย่างราบรื่น และเกิดผลตามที่กำหนดไว้
- เป็นการวางแผนการสอนเพื่อให้เด็กปฏิบัติและได้รับประสบการณ์ อันนำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์การศึกษาทั้งด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย
การนำไปใช้
- สามารถนำวิธีการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยไปใช้ในการวางแผนการสอนวิชาคณิตสาตร์ได้

สัปดาห์ที่ 10

วันนี้อาจารย์ให้เพื่อนๆทุกคนที่จับคู่กัน 2-3 คน ทำสื่อเกี่ยวกับคณิตศาสตร์แล้วออกมานำเสนอหน้าห้องให้เพื่อนๆได้ดูว่าของเราทำอะไรมาแล้วเป็นสื่อแบบไหนนั่นเอง ทางกลุ่มของดิฉันก็ได้เลือกทำ สื่อที่มีชื่อว่า รูปทรงหรรษา

ประโยชน์ของสื่อ!!!

สื่อชิ้นนี้สามารถนำไปปฎิบติได้จริงๆๆ เพื่อให้เด็กๆๆเรียนรูปลักษณะรูปทรงต่างๆๆๆ




สัปดาห์ที่ 9

ไม่ได้เข้าเรียน เนื่องจากไปทำธุระต่างจังหวัด ค่ะ








วันศุกร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

สัปดาห์ที่8

          การเรียนการสอนวันนี้อาจารย์ให้เพื่อนๆในห้องช่วยกันแต่นิทานร่วมกัน 1เรื่องค่ะ ^^ 


  กาลครั้งหนึ่งมีเพื่อนสามสหายชื่อว่า สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม และวงกลม ทั้งสามคนมีบุคลิกที่แตกต่างกัน เจ้าสามเหลี่ยมมีอารมณ์ที่ขึ้โมโห เจ้าสี่เหลี่ยมเป็นคนใจกว้าง และเจ้าวงกลมเป็นนเจ้าชู้ วันหนึ่งเจ้าเพื่อนสามคนนี้ออกไปเที่ยวผับ แต่พอเข้าไปแล้วเจ้าสามเหลี่ยมก็รู้สึกหงุดหงิดเพราะเสียงดัง เจ้าสี่เหลี่ยมก็อยู่เฉยๆส่วนเจ้าวงกลมกำลังจีบสาว คนในผับกำลังเคาท์ดาวน์กันอยู่ อยู่ก็มีแก๊สน้ำตาถูกโยนเข้ามาในผับ เจ้าสีเหลี่ยมก็เลยเป่านกหวีด เพื่อบอกให้เพื่อนๆอยู่ในความสงบ...เจ้าวงกลมตะโกนบอกให้เพื่อนปิดจมูก เจ้าสามเหลี่ยมวิ่งไปจับคนที่ขว้างแก๊สน้ำตา แล้วทุกคนก็ทยอยออกไปจากผับ และกลับบ้านอย่างปลอดภัย

พอช่วยกันแต่งนิทานเสร็จอาจารย์ก็แบ่งเป็นหัวข้อและให้แต่ละกลุ่มออกไปจับฉลากว่าได้หัวข้ออะไร


เรื่องสามเกลอ เจอแก๊ส...


















รวมผลงานของเพื่อนๆทุกคนในห้องค่ะ >< 



ความรู้ที่ได้รับในวันนี้

ได้รู้จักการเชื่อมประโยคต่างๆเข้าด้วยกันให้เป็นเรื่องราวและการมีไหวพริบในการเชื่อมวางประโยคและรูปภาพเข้าด้วยกัน สามารถนำไปใช้เล่นเป็นกิจกรรมให้เด็กได้ฝึกคิดและจินตนาการรูปภาพตามหัวข้อที่ได้มาได้อีกด้วยค่ะ ><

สัปดาห์ที่ 7

ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากสอบกลางภาค

สัปดาห์ที่ 6

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิ่น
 กลุ่มเรียน 103 (วันพฤหัสบดีเช้า)
เวลา  08.30-12.20 น.

ไม่ได้เข้าเรียน เนื่องจากไม่สบายค่ะ

สัปดาห์ที่ 5


บันทึกอนุทิน



วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิ่น
กลุ่มเรียน 103 (วันพฤหัสบดีเช้า)
เวลา  08.30-12.20 น.









สัปดาห์ที่4

วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ.2556
เวลา 08.30:12.20 วัน พฤหัสบดี (เช้า) กลุ่มเรียน 103
ครั้งที่ 4

  1.จำนวนและการดำเนินงาน


           จำนวน หมายถึง ปริมาณของสิ่งต่างๆซึ่งเป็นสิ่งบอกถึงความมากหรือน้อย จำนวนสามารถแสดงได้ด้วยตัวเลข รูปภาพ หรือสัญลักษณ์อื่นๆ
           การดำเนินการ หมายถึง การกระทำหรือลำดับขั้นตอนที่สร้างคำใหม่ขึ้นมาเป็นผลลัพธ์ โดยการป้องค่าเข้าไป การดำเนินการสามารถแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ การดำเนินการเอกภาค จะใช้คำที่ป้อนเข้าไปเพียงหนึ่งคำ เช่น นิเสธหรือฟังก็ชันตรีโกณมิติ ส่วนการดำเนินการทวิภาคจะใช้สองค่า เช่น การบวก การลบ การคูณ การหาร การยกกำลัง
2.การวัด

          การวัด คือ การหาคำตอบเกี่ยวกับ เวลา ระยะทาง น้ำหนักด้วยการจับเวลา การวัดระยะทาง การชั่งน้ำหนักหรือการตวง ซึ่งมีหน่วยที่แน่นอน แต่การสอนเรื่องการวัดให้กับเด็กอนุบาล
การวัดจะต้องไม่มีหน่วย



3.พีชคณิต

          พีชคณิต คือ เลขคณิตของสัญลักษณ์ที่ใช้แทนจำนวนตัวเลข ความหมาย คือ แทนที่จะหาความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนตัวเลข เลขเฉพาะค่าพีชคณิตแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณใดๆในรูปแบบทั่วไปมากกว่า


ความรู้ที่ได้รับ

          ได้รู้ถึงวิธีการนำไปสอนเด็กในอนาคต การได้นำรูปทรงเลขาคณิต การนับจำนวน พีชคณิต มาพัฒนาทำเป็นสื่อการสอน หรือกิจกรรมอื่น ๆ ให้เด็กได้เรียนรู้

สัปดาห์ที่3



วันที่  21  พฤศจิกายน  พ.ศ.  2556
ครั้งที่  3  เวลาเรียน  08:30 - 12:20 น.
เวลาเข้าเรียน  08:30 น.    เวลาเลิกเรียน  12:20 น.
จุดมุ้งหมายทางคณิตสตร์
- ให้เด็กมีความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์  
- สอนพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ 
- รู้จักและใช้กระบวนการหาคำตอบ
- ฝึกฝนคณิตศาสตร์พื้นฐาน
- สอนให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจ
- รู้จักค้นคว้าหาคำตอบด้วยตัวเอง

  ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
  1. สังเกต (Observation)      
  2. การจำแนกประเภท (Classifying) ความเหมือน ความต่าง ความสัมพันธ์
  3. การเปรียบเทียบ (Comparing) อาศัยความสัมพันธ์ของสิ่งของหรือเหตุการณ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป
  4. การจัดลำดับ (Ordering)
  5. การวัด (Measurement) ซึ่งการวัดของเด็กจะไม่มีหน่วย
  6. การนับ (Counting)
  7. รูปทรงและขนาด (Sharp and Size)

ความรู้ที่ได้รับ
 
 สามารถนำไปเป็นสื่อการสอนในอนาคต โดยการให้เด็กได้แยกแยะ จำแนก ตามรูปร่าง สี ลักษณะ
วัตถุ และได้ให้เด็กได้ใช้จินตนาการ ใช้กล้ามเนื้อมือ และได้ลงมือปฏิบัติจริง